ไอโซเมอร์ คืออะไร แบ่งได้กี่ชนิด มีหลักการเขียนอย่างไรบ้าง
ไอโซเมอร์ คืออะไร แบ่งได้กี่ชนิด มีหลักการเขียนอย่างไรบ้าง ในการเรียนวิชาเคมีระดับมัธยมปลาย เรื่องของ “ไอโซเมอร์” (Isomer) เป็นอีกสิ่งที่เด็ก ๆ ทุกคนต้องได้ศึกษาเพื่อสร้างพื้นฐานพร้อมต่อยอดการเรียนในระดับที่สูงขึ้นต่อไป บทความนี้ครูปีโป้จึงอยากพามาทำความรู้จักกันก่อนว่าไอโซเมอร์ คืออะไร สามารถแบ่งได้กี่ชนิด และมีหลักการเขียนอย่างไรบ้าง?...
สนามแม่เหล็ก พื้นฐานและการทำงานของพลังงานที่มองไม่เห็น
สนามแม่เหล็ก พื้นฐานและการทำงานของพลังงานที่มองไม่เห็น สนามแม่เหล็กเป็นหนึ่งในปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ที่สำคัญ และมีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวันของเรา ไม่ว่าจะในธรรมชาติหรือการใช้งานเทคโนโลยี เช่น การผลิตไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า และการสื่อสารด้วย คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การทำความเข้าใจเกี่ยวกับสนามแม่เหล็กและความเชื่อมโยงกับ ไฟฟ้าสถิต และ กระแสไฟฟ้า จะช่วยให้เรามองเห็นถึงความสำคัญของพลังงานนี้ได้มากขึ้น...
พันธะโคเวเลนต์ เรื่องน่าสนใจในการเรียนวิชาเคมีที่ควรรู้ไว้
พันธะโคเวเลนต์ เรื่องน่าสนใจในการเรียนวิชาเคมีที่ควรรู้ไว้ สำหรับเด็ก ๆ สายวิทย์ หรือสนใจในรายวิชาเคมี “พันธะโคเวเลนต์” เป็นอีกเรื่องที่มีความน่าสนใจมาก พื้นฐานสำคัญที่จะช่วยต่อยอดให้การเรียนในด้านอื่นเกิดความเข้าใจมากขึ้น ครูปีโป้จึงอยากพาทุกคนมาทำความรู้จักกับเรื่องนี้ให้มากขึ้น มั่นใจว่าจะช่วยสร้างความรู้ เสริมความเข้าใจ และรู้สึกสนุกไปกับการเรียนวิชาเคมีมากขึ้นกว่าเดิมแน่นอนครับ พันธะโคเวเลนต์ คืออะไร...
พามาทำความรู้จักกับ โครงสร้างอะตอม เรื่องใกล้ตัวกว่าที่คิด
พามาทำความรู้จักกับ โครงสร้างอะตอม เรื่องใกล้ตัวกว่าที่คิด เมื่อพูดถึงอะตอมเชื่อว่าเด็ก ๆ ทุกคนน่าจะคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว แต่พอเจาะลึกลงไปเกี่ยวกับ “โครงสร้างอะตอม” นี่เป็นเรื่องน่าสนใจที่ครูปีโป้อยากพาทุกคนมาทำความรู้จักกันให้มากขึ้นกว่าเดิม โดยเฉพาะคนที่ชอบวิชาเคมี เรียนสายวิทย์ หรือมีเป้าหมายในการสอบเข้าค่าย สอวน. เรื่องนี้เข้าใจไม่ยากอย่างที่คิดครับ ทำความรู้จักกับโครงสร้างอะตอม...
ทำความรู้จักกับกฎของชาร์ลส์ หนึ่งในกฎและทฤษฎีของก๊าซอุดมคติ
ทำความรู้จักกับกฎของชาร์ลส์ หนึ่งในกฎและทฤษฎีของก๊าซอุดมคติ หนึ่งในสสารบนโลกที่ทุกคนรู้จักกันเป็นอย่างดีนั่นคือ “ก๊าซ” ซึ่งเป็นสิ่งที่มนุษย์ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่อาศัยวิธีสัมผัส เช่น การสูดดม ความรู้สึกของร่างกายจากการสัมผัส นั่นจึงทำให้มีการกำหนดก๊าซอุดมคติขึ้นเพื่อจุดประสงค์ในการศึกษาคุณสมบัติของก๊าซชนิดต่าง ๆ และ “กฎของชาร์ลส์” ก็เป็นหนึ่งในก๊าซอุดมคติเช่นกัน ครูปีโป้จึงขอพาเด็ก...
หมู่ฟังก์ชัน คืออะไร จำแนกตามชนิดได้แบบไหนบ้าง ศึกษาได้เลย
หมู่ฟังก์ชัน คืออะไร จำแนกตามชนิดได้แบบไหนบ้าง ศึกษาได้เลย ในการเรียนรายวิชาเคมี “หมู่ฟังก์ชัน” เป็นอีกเรื่องที่มีความน่าสนใจมาก ช่วยสร้างพื้นฐานความเข้าใจและต่อยอดสู่การเรียนในด้านอื่นต่อไป ครูปีโป้จึงขอพาเด็ก ๆ ทุกคนมาทำความรู้จักกันให้มากขึ้น รวมถึงมีการจำแนกตัวอย่างตามชนิดที่มักพบเห็นกันบ่อย จะมีอะไรบ้างลองศึกษาพร้อมทำความเข้าใจข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้กันได้เลยครับ หมู่ฟังก์ชัน คืออะไร...
ทำความรู้จัก มวลโมเลกุล มวลรวมของอะตอม
มวลโมเลกุล หมายถึงอะไร หมายถึง มวลรวมของอะตอมทั้งหมดในโมเลกุลของสารหนึ่งๆ โดยมวลโมเลกุลคำนวณจากผลรวมของมวลอะตอมของธาตุที่ประกอบอยู่ในโมเลกุลนั้นๆ ซึ่งหน่วยของมวลโมเลกุลจะใช้หน่วยเป็น กรัมต่อโมล (g/mol) หรือ ดาลตัน (Dalton, Da) โดยการคำนวณมวลโมเลกุลจะพิจารณาจากมวลอะตอมที่มีอยู่ในตารางธาตุ ซึ่งมวลของอะตอมในตารางธาตุจะขึ้นอยู่กับเลขมวลของธาตุนั้นๆ เช่น...
รู้จักกับกฎของบอยล์ ความสัมพันธ์ปริมาตรต่อความดันของแก๊ส
รู้จักกับกฎของบอยล์ ความสัมพันธ์ปริมาตรต่อความดันของแก๊ส โรเบิร์ต บอยล์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ มีความสนใจและพยายามศึกษาเกี่ยวกับสมบัติของแก๊ส ซึ่งจะมี 4 ตัวแปรสำคัญ ได้แก่ ความดัน ปริมาตร อุณหภูมิ และปริมาณแก๊ส นั่นหมายความว่าเมื่อตั้งใจสังเกตผลตัวแปรหนึ่งอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอีกตัวแปร...
อนุภาคมูลฐาน คืออะไร แบ่งออกได้กี่ชนิด มาศึกษากันได้เลย
อนุภาคมูลฐาน คืออะไร แบ่งออกได้กี่ชนิด มาศึกษากันได้เลย ในเรื่องของอนุภาคมูลฐานถือเป็นเรื่องที่มีความน่าสนใจและยังคงถูกศึกษากันอย่างต่อเนื่อง เพราะถ้าเจาะลึกกันอย่างละเอียดแล้วยังไม่สามารถยืนยันถึงชนิดและความซับซ้อนได้ชัดเจน อย่างไรก็ตามนักวิทยาศาสตร์ก็มีการสรุปข้อมูลเพื่อใช้เป็นแนวทางด้านการศึกษาให้กับผู้คนได้เรียนรู้ในเรื่องนี้กันมากขึ้น ลองมาศึกษาข้อมูลเหล่านี้สำหรับเด็ก ๆ ที่สนใจ เพื่อต่อยอดความรู้ของตนเองเลยครับ อนุภาคมูลฐาน คืออะไร อนุภาคมูลฐาน (Fundamental...
ธาตุโลหะมีอะไรบ้าง แต่ละธาตุมีสมบัติเป็นอย่างไร เข้าใจไม่ยาก
ธาตุโลหะมีอะไรบ้าง แต่ละธาตุมีสมบัติเป็นอย่างไร เข้าใจไม่ยาก ธาตุในตารางธาตุ หรือแม้แต่บนโลกนี้ก็ตามจะถูกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ โลหะ กึ่งโลหะ และอโลหะ ผ่านการจำแนกตามสมบัติเฉพาะตัวของธาตุนั้น ๆ ซึ่ง “โลหะ”...